SEA-Teacher Project #8: Creating Thailand's Lesson Plan for Mathayom 1.

Creating the Lesson Plan.

Before entering the classroom directly teach the student, we have to make a lesson plan in the school's form (thailad's form) but still using english. Before i make my lesson plan, i observe teacher (especially Kru Naa and Kru Bee). Here's some conlcution that i can take from how did the make their lesson (teaching) plan
  1. Planning for teaching. Before teaching, the teacher plans the material and work sheet for the students.  The material from book and from the teacher itself. Sometimes, the work sheet taken from the book but the teacher modify it. So it is easier to understand by the students and the step are clearly written at the worksheet so the student would easier to understand.
  2.  Preparing lessons and materials. Teacher makes lesson plan before he teach and the lesson plan used to guide the way he teach. When the government ask for administration of the teacher it also shown to make sure the lesson has already taught. The lesson plan signed by the director that is why it also legal. And the director know what knowledge that taught to the students.
  3. Teaching in class. When teaching, teacher follow the steps in his lesson plan. All steps are going well and when there is any problem in the class, the teacher directly revise it. Mathematics teacher here oftenly use scafolding method, they are not directly telling the student about the concept but keep on asking question that is leads student to the consept itself.
  4. Measurement and Evaluation. It get from the activeness of the students and some of assessment sheet. It also get from middle test and final test so the score are come from students ability.
Based on that observation, i tried to make my lesson plan. They also give me the example as a guidance for me to understand it more before try to make my own lesson plan. Here's some example of lesson plan given to me:

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  วิชาคณิตศาสตร์ (21102)                                ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่  4   ชื่อหน่วย   สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว                                เวลา  18 ชั่วโมง
เรื่อง การแก้สมการโดยใช้สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการบวกและการคูณ
       เวลา  1 ชั่วโมง
.............................................................................................................................................................
1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 4.2ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical  model)อื่นๆ  แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนำไปใช้แก้ปัญหา
                       
มาตรฐาน ค
 6.1   มีความสามารถในการแก้ปัญหา  การให้เหตุผล  การสื่อสาร  การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
2. ตัวชี้วัด
    ตัวชี้วัด 4.2ม.1/1แก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
    ตัวชี้วัด
6.1ม.1/3ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้ อย่างเหมาะสม
3. สาระสำคัญ
                การแก้สมการ คือ การหาคำตอบของสมการ เพื่อความรวดเร็วในการหาคำตอบของสมการเราจะใช้สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการบวกและการคูณ
4.  สาระการเรียนรู้
                การแก้สมการโดยใช้สมบัติของการเท่ากัน เกี่ยวกับการบวกและการคูณ
ตัวอย่าง    จงแก้สมการ         5   =    8
วิธีทำ                                          5   =    8
นำ    5   มาบวก ทั้งสองข้างของสมการ
จะได้             5 + 5   =    8 + 5
                     =    13
นำ    6   มาคูณ ทั้งสองข้างของสมการ
จะได้           ×  6   =    13  ×  6                       หรือ        x   =    78
ตรวจสอบแทน   x  ด้วย   78  ในสมการ     5   =    8
จะได้            5    =    8
                8   =    8         เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น  78   เป็นคำตอบของสมการ      5   =    8
ตอบ        78
5. จุดประสงค์การเรียนรู้
                5.1 ด้านความรู้
นักเรียนสามารถแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวอย่างง่ายโดยใช้สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการบวกและการคูณได้
                5.2 ด้านทักษะกระบวนการ
นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหา
                5.3 ด้านคุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมอย่างมีระเบียบวินัย
6.สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหา
7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมอย่างมีระเบียบวินัย
8. การบูรณาการ (อาเซียน)
เขียนคำศัพท์ คำสำคัญในเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
9. กระบวนการจัดการเรียนรู้/เทคนิควิธีการ
- การสอนแบบนิรนัย
10. กิจกรรมการเรียนรู้      
               
10.1 ขั้นนำ
1. ให้นักเรียนท่องแม่สูตรคูณพร้อมกัน
2. ครูเฉลยแบบฝึกทักษะที่ 7
                10.2 ขั้นสอน       
                   1. ครูอธิบายเนื้อหาเรื่องการแก้สมการโดยใช้สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการบวกและการคูณ  ดังนี้
การแก้สมการโดยใช้สมบัติของการเท่ากัน เกี่ยวกับการบวกและการคูณ
ตัวอย่าง    จงแก้สมการ         5   =    8
วิธีทำ                                          5   =    8                        นำ    5   มาบวก ทั้งสองข้างของสมการ
                                                จะได้             5 + 5   =    8 + 5
                     =    13
นำ    6   มาคูณ ทั้งสองข้างของสมการ
จะได้           ×  6   =    13  ×  6
หรือ        x   =    78
ตรวจสอบแทน   x  ด้วย   78  ในสมการ     5   =    8
จะได้            5    =    8
                                      8   =    8         เป็นสมการที่เป็นจริง
ดังนั้น  78   เป็นคำตอบของสมการ      5   =    8
ตอบ        78

                2.  ให้นักเรียนทำแบบฝึกทักษะที่ 8 กำหนดส่งท้ายชั่วโมง โดยครูคอยให้คำปรึกษานักเรียน
ที่ทำไม่ถูกต้อง
10.3 ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปดังนี้
การแก้สมการ คือ การหาคำตอบของสมการ เพื่อความรวดเร็วในการหาคำตอบของสมการ เราจะใช้สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการบวกและการคูณ
11. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
                - สื่อ
               
- หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2
                -
แบบฝึกทักษะที่ 8
               
- แหล่งเรียนรู้
               
- หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 2
                - Internet











12. การวัดผลและประเมินผล
ประเด็นที่ต้องการวัดและประเมินผล
วิธีวัด
เครื่องมือวัด
เกณฑ์การผ่าน
1.  ด้านความรู้
นักเรียนสามารถแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวอย่างง่ายโดยใช้สมบัติของการเท่ากันเกี่ยวกับการบวกและการคูณได้
ตรวจแบบฝึกทักษะที่ 8
แบบฝึกทักษะที่ 8
นักเรียนทำแบบฝึกทักษะเฉลี่ยร้อยละ 60 ขึ้นไป
2.  ด้านทักษะกระบวนการ
นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหา
ตรวจแบบฝึกทักษะที่ 8
แบบฝึกทักษะที่ 8
ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
3.  ด้านคุณธรรมจริยธรรม และคุณลักษะอันพึงประสงค์
นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมอย่างมีระเบียบวินัย
สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์มีระเบียบวินัย
แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์มีระเบียบวินัย
ได้ระดับคุณภาพ 2 ขึ้นไป
4.  สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหา
สังเกตความสามารถในการแก้ปัญหา
แบบสังเกตความสามารถใน
การแก้ปัญหา
ได้ระดับคุณภาพ 2 ขึ้นไป

13.กิจกรรมเสนอแนะ
....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................


เกณฑ์การประเมิน
ด้านทักษะ/กระบวนการ     นักเรียนมีความสามารถในการแก้ปัญหา
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนความสามารถในการแก้ปัญหา
ระดับคุณภาพ
ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ปรากฏให้เห็น
3
ใช้ยุทธวิธีดำเนินการแก้ปัญหาสำเร็จ อย่างมีประสิทธิภาพ อธิบายถึงเหตุผลในการใช้วิธีการดังกล่าวได้เข้าใจชัดเจน
2
ใช้ยุทธวิธีดำเนินการแก้ปัญหาสำเร็จเพียงบางส่วน อธิบายถึงเหตุผลในการใช้วิธีการดังกล่าวได้บางส่วน
1
มีร่องรอยการดำเนินการแก้ปัญหาบางส่วน เริ่มคิดว่าทำไมจึงต้องใช้วิธการนั้นแล้วหยุด อธิบายต่อไม่ได้ แก้ปัญหาไม่สำเร็จ

                   * เกณฑ์การตัดสิน ระดับคุณภาพ 2 ขึ้นไปถือว่าผ่าน

เกณฑ์ให้คะแนนด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

  คุณลักษณะ   มีระเบียบวินัย

คะแนน/ความหมาย
คุณลักษณะที่ปรากฏให้เห็น
3
ดีมาก
·       ใบงาน  ชิ้นงาน  สะอาดเรียบร้อย
·       ปฏิบัติตนอยู่ในข้อตกลงที่กำหนดให้ร่วมกัน
2
ดี
·       ใบงาน  ชิ้นงาน  ส่วนใหญ่สะอาดเรียบร้อย
·       ปฏิบัติตนอยู่ในข้อตกลงที่กำหนดให้ร่วมกันเป็นส่วนใหญ่
1
พอใช้
·       ใบงาน  ชิ้นงาน  ไม่ค่อยสะอาดเรียบร้อย
·       ปฏิบัติตนอยู่ในข้อตกลงที่กำหนดให้ร่วมกันเป็นบางครั้ง ต้องอาศัยการแนะนำ
                * เกณฑ์การตัดสิน ระดับคุณภาพ 2 ขึ้นไปถือว่าผ่าน
เกณฑ์การประเมินผลด้านความรู้
ระดับคะแนน
เกณฑ์การประเมิน

80-100:  ดีมาก (3)
- ทำแบบฝึกทักษะได้อย่างครบถ้วน
- ทำแบบฝึกทักษะได้อย่างถูกต้องมากกว่า 80%
- แสดงลำดับขั้นตอนของการทำแบบฝึกทักษะได้ชัดเจนเหมาะสม
- ทำแบบฝึกทักษะเสร็จตรงกำหนดเวลา

60-79   :  ดี (2)
- ทำแบบฝึกทักษะได้มากกว่า 50%ของจำนวนทั้งหมด
- ทำแบบฝึกทักษะได้ 50-80%
- สลับขั้นตอนการทำแบบฝึกทักษะหรือเรียงลำดับขั้นตอนไม่เหมาะสม
- ทำแบบฝึกทักษะเสร็จตรงกำหนดเวลาเป็นบางครั้ง

50-59:  พอใช้ (1)
- ทำแบบฝึกทักษะได้น้อยกว่า 50%ของจำนวนทั้งหมด
- ทำแบบฝึกทักษะได้น้อยกว่า 50%
- ไม่มีการแสดงลำดับขั้นตอนของการทำแบบฝึกทักษะ
- ทำแบบฝึกทักษะไม่เสร็จตามกำหนดเวลา
เกณฑ์การตัดสิน
                 ได้ระดับคุณภาพ  3  หมายถึง   ดี
                 ได้ระดับคุณภาพ 
2  หมายถึง   พอใช้
                 ได้ระดับคุณภาพ 
1  หมายถึง   ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน
                นักเรียนได้ระดับคุณภาพ 
2   ขึ้นไป ถือว่าผ่าน
ได้คะแนนร้อยละ 60 ขึ้นไป ถือว่าผ่าน                                         

แบบสังเกตการวัดผลประเมินผล

เลขที่
ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ผลการประเมิน
สรุป
ผลการประเมิน
สรุป
ดีมาก 3

ดี  2
พอใช้  1
ผ่าน
ไม่ผ่าน
ดีมาก 3

ดี  2
พอใช้  1
ผ่าน
ไม่ผ่าน


















































































































































































































(ลงชื่อ).................................................................ผู้จัดการเรียนรู้
                                                                                   (............................................................)

บันทึกหลังการสอน
ผลการเรียนรู้
                1. ด้านความรู้
.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
2.ด้านทักษะ/ กระบวนการ
.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
3.ด้านคุณธรรมจริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
4.ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรค
.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข
..........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ ..................................................
(นางสาวสุดาวรรณ    บรรลุ  )
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
ความคิดเห็นของครูที่ปรึกษา
ความคิดเห็นของครูที่ปรึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
(ตรวจ/เสนอแนะ/รับรอง) ให้ตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ ผลปรากฏว่าเป็นแผนการจัดการเรียนรู้ที่
(      ) ครบ และสอดคล้องตามหัวข้อ / เนื้อหาวิชามีความเหมาะสมที่จะนำไปใช้จัดกิจกรรม
การเรียนการสอนได้
(      ) ควรปรับปรุงเพิ่มเติม ดังนี้
(        )  สาระสำคัญไม่ครบ  และไม่สอดคล้องตามเนื้อหา
(        )  สาระการเรียนรู้ไม่ครอบคลุมเนื้อหา
(        )  กระบวนการจัดการเรียนรู้ไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
(        )  อื่นๆ ..............................................................................................................................................................................................................................................................................................


                                                                                              ลงชื่อ ...................................................                                                                                                                (นางพัฒนา       เครือบุญ )
ตำแหน่งครูที่ปรึกษา

All the lesson plan that the Mathematics teacher made are in Thai letter, so i asked for a student to help me to translate it. I follow the way they made their lesson plan, further explanation sometimes given by Kru Naa, but when i confuse about the language i asked Kru Jane, or Kru Neng from English Department. My lesson plan checked 3 times by them, they asked me to make a simple one (just the important part) because they said that i only have less time. I made the lesson plan about Properties of Linear Equation with one Variable -continuing the topics explained by Kru Bee while i was becoming her teaching assistant. So, here's my lesson plan:


Lesson Plan: Linear Equation
Subject: Mathematics         code:_________       Time: 150 minutes (3 periods)
Level:  M.1    Semester: 2   Academic year: 2017
Teacher: Andi Rafiqa Faradiyah
Day:             Month: January      Year: 2018


1.     Main Idea
Students understand about the Properties of Linear Equation.

2.    Objective
a.    Students are able to use the symmetric property of equality.
b.    Students are able to use the transitive property of equality.
c.    Students are able to use the additive property of equality.
d.    Students are able to use the multiplicative property of equality.





4.    Teaching Procedure (Activity)
4.1          First Hour
Presentation
Teacher explains about 4 properties that can be used for solving the equation and gives each properties examples.
Practice
Students do the task (From Mathayom 1 Mathematics Book):
1.   m – 3 = 7
2.  12 + l = -14
3.  x + 8.5 = 10.6
4.  5y = 54
5.  -0.3w = 2.4
Production
Students  use one properties to solve linear equation.
4.2.    Second Hour
Pesentation
Teacher reminds students about 4 properties and gives example for each properties.
Practice
-       Students do the task (From Mathayom 1 Mathematics Book):
1.      = 7
2.     - 1 = 13
3.    .5) = 0.15
-      

Production
Students use more than one properties to solve linear equation.
4.3.    Third Hour
Pesentation
Teacher reminds students about 4 properties that and gives example for each properties.
Practice
-       Students do the task (From Mathayom 1 Mathematics Book):
1.  
2.  5s +  =  +
3.  (3+2a) =
-      
Production
The students solve linear equations using all the properties.

5.    Teaching Materials
Mathematics Book of Mathayom I
Worksheet 6, 7, and 8.

Chiang Rai,    February 2018


Koord. Of Mathematics Department
Mengrai School
The School’s Director of
Mengrai School







________________________________
                    _____________________




















Comments

Popular posts from this blog

SEA-Teacher Project #1: I (will) Teach in Thailand!

SEA-Teacher Project #11: Teaching Practice in Mathayom 1 Mengraimaharaj Witthayakom School.

SEA-Teacher Project: #13. Interesting Place in Chiang Rai Part 3